รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
---|---|---|
6400001 |
การบริหารจัดการธุรกิจดนตรีและศิลปะการแสดงหลักการบริหารจัดการธุรกิจดนตรีและศิลปะการแสดง การวางแผนและการเงิน กลยุทธ์การตลาด การกำหนดความรับผิดชอบ การดำเนินงาน และการประเมินผล การเจารจาต่อรองทางธุรกิจ การตัดสินใจทางธุรกิจ และการจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า |
3 (3-0-6) |
6400002 |
ลิขสิทธิ์ดนตรีและศิลปะการแสดงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา ลิขสิทธิ์เพลงและการแสดง ผลงานที่ไม่ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ การจดลิขสิทธิ์เพลงและการแสดง ความคุ้มครองทางกฎหมายของลิขสิทธิ์เพลงและการแสดง |
3 (3-0-6) |
6400003 |
นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ศิลป์แนวคิด วิธีการ รูปแบบ เทคนิค กระบวนการ ทฤษฎีการออกแบบและพัฒนาการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีและศิลปะการแสดงร่วมสมัย การบริหารจัดการนวัตกรรม |
3 (2-2-5) |
6400004 |
เทคโนโลยีผลิตสื่อดนตรีและศิลปะการแสดงการผลิตและการพัฒนาสื่อ การใช้เครื่องมือ เทคโนโลยี สื่อสมัยใหม่ และเทคนิคพิเศษ รูปแบบต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีดิจิทัล |
3 (2-2-5) |
6400005 |
การนำเสนอผลงานทางวิทยาการดนตรีและศิลปะการแสดงการนำเสนอผลงาน การวางแผน แนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงต่าง ๆ ในการดำเนินงาน ออกแบบนำเสนอผลงานในรูปแบบต่าง ๆ ทางดนตรีและศิลปะการแสดง |
3 (2-2-5) |
6400006 |
สัมมนาดนตรีและศิลปะการแสดงหลักการ ทฤษฎี รูปแบบ กระบวนการ การวิจารณ์ การประเมินผล และการฝึกปฏิบัติ การจัดสัมมนาทางวิทยาการดนตรีและศิลปะการแสดง |
3 (2-2-5) |
6400007 |
วิจัยทางดนตรีและศิลปะการแสดงทฤษฎี หลักการ ระเบียบวิธีวิจัย ประเภทของงานวิจัย และการเขียนงานวิจัยทางดนตรีและศิลปะการแสดง ฝึกปฏิบัติการเขียนงานวิจัย นำเสนองานวิจัย |
3 (2-2-5) |
6400008 |
ดนตรีและศิลปะการแสดงท้องถิ่นแนวคิด ทฤษฎีด้านดนตรีและการแสดงกับชุมชน พัฒนาการของการใช้ดนตรีและการแสดง ในชุมชน บทบาทของดนตรีและการแสดงกับการส่งเสริมความเข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชน การใช้ดนตรีและ การแสดงเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของชุมชน |
3 (2-2-5) |
6400009 |
ภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐานสำหรับดนตรีและศิลปะการแสดงพัฒนาการฟัง การพูด การอ่าน การเขียนและไวยกรณ์เพื่อการสื่อสารทางดนตรีและศิลปะการแสดง |
3 (3-0-6) |
6400010 |
ภาษาอังกฤษสำหรับนักวิทยาการดนตรีและศิลปะการแสดงทักษะภาษาอังกฤษที่เป็นพื้นฐานทางอาชีพและจำเป็นในการสื่อสารทางธุรกิจดนตรีและศิลปะการแสดง |
3 (3-0-6) |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
---|---|---|
6400011 |
ทฤษฎีดนตรีไทยองค์ประกอบของดนตรีไทยเกี่ยวกับเสียง มาตราเสียง ระดับเสียง กลุ่มเสียงที่ใช้ในบทเพลง ทางของดนตรีไทย สำเนียงภาษาต่าง ๆ จังหวะ อัตราจังหวะ หน้าทับประเภทต่าง ๆ ทำนอง ทำนองหลัก และบทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีไทย ศัพท์สังคีตที่สำคัญ |
3 (3-0-6) |
6400012 |
ประวัติการดนตรีไทยประวัติ พัฒนาการของดนตรีไทยในสมัยต่าง ๆ รูปแบบการประสมวง เครื่องดนตรีไทย ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับศิลปะที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสังคีตวรรณกรรมที่สำคัญ |
3 (3-0-6) |
6400013 |
รูปแบบและการวิเคราะห์เพลงไทยโครงสร้างเพลงไทยประเภทต่างๆ วิเคราะห์รูปแบบของทำนองเพลง จังหวะ วรรคเพลง ประโยคเพลง ท่อนเพลง ลูกตก กลุ่มเสียง การเคลื่อนที่ของทำนองเพลง มือฆ้อง กลอนเพลง หลักการแปรทำนองเพลง ลักษณะของทำนองเพลงที่ปรากฏในบทเพลง |
3 (3-0-6) |
6400014 |
การประพันธ์เพลงไทยหลักและวิธีการประพันธ์ทำนองเพลงไทย ทางเครื่องดนตรีหรือทางร้อง ประพันธ์ทำนองเพลง โดยการขยายและตัดทำนองเป็นเพลงเถา ทางเที่ยวเปลี่ยน โครงสร้างและลักษณะเพลงไทย เพลงประกอบการแสดง และบันทึกโน้ตเพลงที่ประพันธ์ |
3 (3-0-6) |
6400015 |
สุนทรียศาสตร์ทางดนตรีปรัชญาดนตรี ความสำคัญของดนตรี สุนทรียศาสตร์ทางดนตรี องค์ประกอบดนตรี ทฤษฎีดนตรีสากลขั้นพื้นฐาน ทฤษฎีดนตรีไทยขั้นพื้นฐาน การอ่านโน้ตดนตรีสากล การอ่านโน้ตดนตรีไทย การอ่านออกเสียงโน้ต การบันทึกโน้ตดนตรีสากล การบันทึกโน้ตดนตรีไทย ศัพท์ดนตรี |
3 (3-0-6) |
6400015 |
สุนทรียศาสตร์ทางดนตรีปรัชญาดนตรี ความสำคัญของดนตรี สุนทรียศาสตร์ทางดนตรี องค์ประกอบดนตรี ทฤษฎีดนตรีสากลขั้นพื้นฐาน ทฤษฎีดนตรีไทยขั้นพื้นฐาน การอ่านโน้ตดนตรีสากล การอ่านโน้ตดนตรีไทย การอ่านออกเสียงโน้ต การบันทึกโน้ตดนตรีสากล การบันทึกโน้ตดนตรีไทย ศัพท์ดนตรี |
3 (3-0-6) |
6400016 |
จังหวะและหน้าทับดนตรีไทยบทบาทและความสำคัญของหน้าทับดนตรีไทย เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงหน้าทับ ไม้กลอง โครงสร้างและลักษณะของจังหวะหน้าทับประเภทต่าง ๆ หลักและวิธีการใช้หน้าทับให้สอดคล้องกับทำนองเพลงและวัตถุประสงค์ของผู้ประพันธ์ |
3 (2-2-5) |
6400017 |
การขับร้องเพลงไทยพื้นฐานเสียง การเอื้อน ขับร้องเพลงไทยเดิม เพลงประเภทเพลงเถา เพลงสองชั้น โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (2-2-5) |
6400018 |
เพลงประกอบการแสดงโขนเนื้อเรื่องรามเกียรติ์ ในชุดการแสดงโขน หลักการและวิธีการบรรเลง ทำนองหลักของเพลงที่ใช้ในการประกอบการแสดงโขน |
3 (2-2-5) |
6400019 |
เพลงระบำ รำ ฟ้อนประวัติที่มาของบทเพลง โอกาสที่ใช้ ทำนองมือฆ้องในบทเพลง ดังนี้ เพลงระบำกฤดาภินิหาร ระบำไกรลาศสำเริง ระบำสุโขทัย ระบำลพบุรี ระบำมฤคระเริง รำพลายชุมพล รำสีนวล รำลาวกระทบไม้ ฟ้อนอวยพร ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนม่านมงคล |
3 (2-2-5) |
6400020 |
ปฎิบัติเพลงเดี่ยวฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีตามความถนัด ต่อเพลงเดี่ยวไม่น้อยกว่า 2 เพลง |
3 (2-2-5) |
6400021 |
การซ่อมบำรุงเครื่องดนตรีไทยรูปทรงสัดส่วน และโครงสร้างด้านกายภาพ วัสดุและแหล่งจำหน่ายวัสดุอุปกรณ์การซ่อม และสร้างเครื่องดนตรีไทยขั้นตอนการผลิต ฝึกการใช้เครื่องมือเครื่องใช้ และอุปกรณ์ซ่อม หรือ ประดิษฐ์เครื่องดนตรีไทย อุปกรณ์ที่ใช้กับเครื่องดนตรีไทย เช่น ยางสน วัสดุถ่วงเสียง การปรับแต่ง และเทียบเสียงเครื่องดนตรีตามมาตรฐานเสียงดนตรีไทย การดูแลรักษาเครื่องดนตรีภายหลังการบรรเลง |
3 (2-2-5) |
6400022 |
การปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยเสริมหลักการบรรเลงดนตรีไทย การฝึกหัดขั้นต้น ท่านั่ง การจับไม้ การไล่เสียง ฝึกปฏิบัติบทเพลงในระดับขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย โดยมีแนวทางคือ 1. ผู้ที่เรียนเครื่องดีดไทย หรือเครื่องสีไทย หรือขิมไทย ให้ฝึกปฏิบัติเครื่องตีไทย หรือเครื่องเป่าไทย 2. ผู้ที่เรียนเครื่องตีไทยหรือเครื่องเป่าไทย ให้ฝึกปฏิบัติเครื่องดีดไทย หรือเครื่องสีไทย 3. ผู้ที่เรียนขับร้องไทย ให้ฝึกปฏิบัติเครื่องดีดไทย หรือเครื่องสีไทย หรือเครื่องตีไทย หรือเครื่องเป่าไทย โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
2 (0-4-2) |
6400023 |
ปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 1ประวัติของบทเพลง บทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย การประสมวงดนตรีไทย แนวคิดและรูปแบบที่ใช้ในการประสมวงดนตรีไทย การบันทึกโน้ตเพลง และการบรรเลงในโอกาสต่างๆ |
2 (0-4-2) |
6400024 |
ปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 2ประวัติของบทเพลง บทบาทหน้าที่ของเครื่องดนตรีและวงดนตรีไทย การประสมวงดนตรีไทย แนวคิดและรูปแบบที่ใช้ในการประสมวงดนตรีไทย การบันทึกโน้ตเพลง การบรรเลงในโอกาสต่าง ๆ ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 1 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
2 (0-4-2) |
6400025 |
ทฤษฎีดนตรีสากล 1ทรัยแอด (Triad) คอร์ด (Chord) และการพลิกกลับของคอร์ด (Inversion) จุดพักเพลง (Cadence) การเคลื่อนที่ของคอร์ดทรัยแอด การใช้คอร์ดในรูปพื้นต้น และการพลิกกลับ โน้ตนอกประสาน การเขียนและวิเคราะห์ทำนอง การประสานเสียง 4 แนว การฝึกโสตประสาทให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาเรียน |
3 (3-0-6) |
6400026 |
ทฤษฎีดนตรีสากล 2คอร์ดทบ 7 (7th chord) โครมาติกคอร์ด (Chromatic chord) การย้ายบันไดเสียงแบบไดอะโทนิก (Diatonic modulation) คอร์ดดอมินันท์ระดับสอง (Secondary dominant) ซีเควนท์ (Sequence) การฝึกโสตประสาทให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาที่เรียน |
3 (3-0-6) |
6400027 |
ทฤษฎีดนตรีสากล 3คอร์ดยืม (Borrowed chord) โครมาติกคอร์ด (Chromatic chord) คอร์ดที่แปลงเสียง (Altered chord) การเปลี่ยนกุญแจเสียงแบบโครมาติก (Chromatic modulation) การฝึกโสตประสาทให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาที่เรียน |
3 (3-0-6) |
6400028 |
รูปแบบและการวิเคราะห์ดนตรีรูปแบบหลักที่ใช้ในการประพันธ์เพลงของคีตกวีสำคัญในยุคบาโรก ยุคคลาสสิก ยุคโรแมนติก และยุคปัจจุบันเพื่อการวิเคราะห์และตีความหมาย |
3 (3-0-6) |
6400029 |
การแต่งเพลงเพื่อการพาณิชย์แต่งเพลงที่กำลังอยู่ในกระแสความนิยม การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการแต่งเพลง การลำดับเนื้อหาภาษาและทำนองเข้าด้วยกัน ผู้เรียนจะต้องนำเสนอผลงานด้วยเอกสารและสื่อบันทึกเสียง |
3 (2-2-5) |
6400030 |
เรียบเรียงเสียงประสานสำหรับวงดนตรีเทคนิคการเรียบเรียงเสียงประสานจากเพลงที่ได้รับความนิยม ฝึกการเรียบเรียงโดยใช้คอร์ดขั้นพื้นฐานและซับซ้อนมากขึ้น การสร้างแบ็กกราวนด์ การปรับประยุกต์แนวทำนอง |
3 (2-2-5) |
6400031 |
นวัตกรรมและเทคโนโลยีดนตรีประวัติความเป็นมาของนวัตกรรมและเทคโนโลยีดนตรี ทักษะการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป และการใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงในงานดนตรี ประเภทต่าง ๆ การบันทึกเสียง เพื่อใช้งานกับสื่อออนไลน์ รวมทั้งสื่อเชิงพาณิชย์ |
3 (2-2-5) |
6400032 |
ระบบปฏิบัติการนวัตกรรมและเทคโนโลยีดนตรีหลักการและทฤษฎีการออกแบบห้องบันทึกเสียง อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในห้องบันทึกเสียง การจัดวางตำแหน่งและการเลือกใช้ไมโครโฟน ระบบซิงโครไนซ์ เทคนิคการบันทึกเสียงจากแหล่งต่าง ๆ เทคนิคการผสมเสียง การทำมาสเตอร์สำหรับสื่อต่าง ๆ ฝึกปฏิบัติการบันทึกเสียง |
3 (2-2-5) |
6400033 |
ระบบแสง สี เสียงหลักการจัดระบบแสง สี เสียง อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงดนตรีทั้งในร่มและกลางแจ้ง การเชื่อมต่อสายสัญญานต่าง ๆ การปรับและผสมเสียงดนตรี การปรับและเลือกใช้แสง สี ในการแสดง ฝึกปฏิบัติการระบบแสง สี เสียง |
3 (2-2-5) |
6400034 |
โสตประสาทฝึกทักษะการฟังเสียงและอ่านโน้ตทั้งแบบ Sight Singing และ Dictation ในลักษณะของ Relative Pitch ฝึกฟังขั้นคู่ที่เป็น Diatonic Interval ฝึกฟัง Triad ชนิดต่าง ๆ |
2 (0-4-2) |
6400035 |
ปฏิบัติรวมวงดนตรีสากล 1รายละเอียดและฝึกทักษะการบรรเลงรวมวง มีการประสานเสียงในแนวทำนองหลัก ฝึกความพร้อมเพรียงและความกลมกลืนของเสียงในการบรรเลงร่วมกัน รวมถึงการฝึกปฏิบัติตามโน้ตสากล |
2 (0-4-2) |
6400036 |
ปฏิบัติรวมวงดนตรีสากล 2รายละเอียดและฝึกทักษะการบรรเลงรวมวง มีการประสานเสียงในแนวทำนองหลัก ฝึกความพร้อมเพรียงและความกลมกลืนของเสียงในการบรรเลงร่วมกัน รวมถึงการฝึกปฏิบัติตามโน้ตสากล ในระดับ 2 |
2 (0-4-2) |
6400037 |
ประวัติศิลปะการแสดงความเป็นมา และความสำคัญ ประวัติศิลปะการแสดงไทย ประวัติศิลปะการแสดงพื้นบ้าน ประวัติศิลปะการแสดงตะวันตก ประวัติศิลปะการแสดงร่วมสมัย ประวัติวรรณกรรม การละคร เป็นต้น |
3 (3-0-6) |
6400038 |
ปริทรรศน์ศิลปะการแสดงความหมาย ความสำคัญ ประวัติความเป็นมา ลักษณะและประเภทของการแสดง โขน ละคร ระบำ รำ ฟ้อน และนาฏศิลป์พื้นเมือง ขนบจารีตทางการแสดง อภิปราย เปรียบเทียบการแสดงด้านต่าง ๆ |
3 (3-0-6) |
6400039 |
สร้างสรรค์ท่ารำเต้นหลักการประดิษฐ์ท่ารำเต้น แนวคิด รูปแบบ การแปรแถว ฝึกประดิษฐ์ท่ารำเต้นในรูปแบบต่าง ๆ |
3 (2-2-5) |
6400040 |
การแต่งหน้าและแต่งกายเพื่อศิลปะการแสดงศิลปะการแต่งหน้า ความสำคัญ หลักการ อุปกรณ์และเทคนิคในการแต่งหน้าสำหรับ การแสดง ฝึกปฏิบัติแต่งหน้าในรูปแบบต่างๆ รูปแบบเครื่องแต่งกายสำหรับการแสดง ฝึกปฏิบัติแต่งกายรูปแบบต่างๆ ตามความเหมาะสม |
3 (2-2-5) |
6400041 |
การพูดและการอ่านตีความหมายเพื่อศิลปะการแสดงทฤษฎีการพูด การฝึกเสียง การหายใจ การออกเสียง การเปล่งเสียง การอ่านตีความ ฝึกพูด และการออกเสียงที่ใช้ในละครแนวต่าง ๆ |
3 (2-2-5) |
6400042 |
วรรณกรรมและการประพันธ์เพื่อศิลปะการแสดงวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมตะวันตก ในด้านลักษณะพัฒนาการทางด้านศิลปะ คุณค่าทางศิลปะและความสำคัญของการประพันธ์บทละคร ในรูปแบบต่างๆ ฝึกปฏิบัติแต่งบทประพันธ์เพื่อการแสดง |
3 (3-0-6) |
6400043 |
การศึกษาสังคมผ่านศิลปะการแสดงความเปลี่ยนแปลงและความเคลื่อนไหวของโลกทางสังคม มนุษย์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และการเมืองผ่านศิลปะการแสดง |
3 (3-0-6) |
6400044 |
ประดิษฐ์เครื่องแต่งกายและอุปกรณ์การแสดงความหมาย หลักการและความสำคัญของการออกแบบเครื่องแต่งกายและอุปกรณ์การแสดง ฝึกประดิษฐ์เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับและอุปกรณ์การแสดง |
3 (2-2-5) |
6400045 |
องค์ประกอบศิลปะการแสดงหน้าที่และความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ของการสร้างละคร ทฤษฎี เทคนิคและศิลปะเกี่ยวกับองค์ประกอบของเวที ฉาก แสง เสียง เครื่องแต่งกาย เพลงและขนบของละคร ฝึกปฏิบัติงานบนเวที |
3 (2-2-5) |
6400046 |
การสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงร่วมสมัยทฤษฎีและแนวคิด ประเพณี วัฒนธรรม ออกแบบการแสดง ออกแบบการแต่งกายที่เกี่ยวกับประเพณีและวัฒนธรรมให้มีความร่วมสมัย มีจุดเชื่อมโยงระหว่างสมัยเก่าและสมัยใหม่ |
3 (2-2-5) |
6400047 |
การถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์ในศิลปะการแสดงคิด ถ่ายทอดจินตนาการในรูปแบบงานสร้างสรรค์ จากแนวคิด ทฤษฎีด้านดนตรีและการแสดง |
3 (2-2-5) |
6400048 |
นวัตกรรมจากขนบวิถีกระบวนทัศน์ของประเพณีนิยม ประวัติ แนวคิดและหลักการสร้างนวัตกรรมที่เกิดจากรากวัฒนธรรม แนวคิดข้ามวัฒนธรรม แนวคิดเชิงบูรณาการข้ามศาสตร์ แนวคิดวัฒนธรรมร่วมราก |
3 (2-2-5) |
6400049 |
ศิลปะการแสดงเพื่อการท่องเที่ยวความเป็นมา และความสำคัญ บทบาท สถานการณ์ พัฒนาการของศิลปะการแสดง วิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นอิทธิพลต่อการท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะการแสดง |
3 (2-2-5) |
6400149 |
ประวัติดนตรีตะวันตกพัฒนาการของดนตรีตะวันตั้งแต่รากฐานในอารยธรรมโบราณไปจนถึงยุคปัจจุบันโดยสังเขป มุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบลีลาดนตรี (musical style) กับบริบททางด้านประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง แนวคิดในการประพันธ์ของคีตกวีที่มีความโดดเด่นในแต่ละยุค |
3 (3-0-6) |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
---|---|---|
6400050 |
การปฏิบัติเครื่องดีดไทย 1ประวัติและที่มาของบทเพลง ปฏิบัติเครื่องดีดไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย ทำนองหลัก หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400051 |
การปฏิบัติเครื่องดีดไทย 2ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องดีดไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการ |
3 (1-3-5) |
6400052 |
การปฏิบัติเครื่องดีดไทย 3ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องดีดไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องดีดไทย 2 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400053 |
การปฏิบัติเครื่องดีดไทย 4ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องดีดไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องดีดไทย 3 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400054 |
การปฏิบัติเครื่องดีดไทย 5ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องดีดไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องดีดไทย 4 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400055 |
การปฏิบัติเครื่องดีดไทย 6ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องสีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องสีไทย 5 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400056 |
ดนตรีพื้นบ้านของไทยดนตรีพื้นบ้านประจำภาคต่าง ๆ ของไทย เช่น ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน และภาคใต้ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา เครื่องดนตรี วงดนตรี วิธีการบรรเลงและบทเพลง ขนบประเพณีในการแสดง บทบาทหน้าที่ และโอกาสที่ใช้ โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400056 |
ดนตรีพื้นบ้านของไทยดนตรีพื้นบ้านประจำภาคต่าง ๆ ของไทย เช่น ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน และภาคใต้ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา เครื่องดนตรี วงดนตรี วิธีการบรรเลงและบทเพลง ขนบประเพณีในการแสดง บทบาทหน้าที่ และโอกาสที่ใช้ โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400056 |
ดนตรีพื้นบ้านของไทยดนตรีพื้นบ้านประจำภาคต่าง ๆ ของไทย เช่น ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน และภาคใต้ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา เครื่องดนตรี วงดนตรี วิธีการบรรเลงและบทเพลง ขนบประเพณีในการแสดง บทบาทหน้าที่ และโอกาสที่ใช้ โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400056 |
ดนตรีพื้นบ้านของไทยดนตรีพื้นบ้านประจำภาคต่าง ๆ ของไทย เช่น ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน และภาคใต้ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา เครื่องดนตรี วงดนตรี วิธีการบรรเลงและบทเพลง ขนบประเพณีในการแสดง บทบาทหน้าที่ และโอกาสที่ใช้ โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400056 |
ดนตรีพื้นบ้านของไทยดนตรีพื้นบ้านประจำภาคต่าง ๆ ของไทย เช่น ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน และภาคใต้ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา เครื่องดนตรี วงดนตรี วิธีการบรรเลงและบทเพลง ขนบประเพณีในการแสดง บทบาทหน้าที่ และโอกาสที่ใช้ โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400057 |
ดนตรีไทยร่วมสมัยประสมประสานเครื่องดนตรีไทยหรือเครื่องดนตรีพื้นบ้านประยุกต์เล่นร่วมกับเครื่องดนตรีสากล บรรเลงบทเพลงประเภทเพลงไทยเดิมหรือเพลงไทยสากล โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400057 |
ดนตรีไทยร่วมสมัยประสมประสานเครื่องดนตรีไทยหรือเครื่องดนตรีพื้นบ้านประยุกต์เล่นร่วมกับเครื่องดนตรีสากล บรรเลงบทเพลงประเภทเพลงไทยเดิมหรือเพลงไทยสากล โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400057 |
ดนตรีไทยร่วมสมัยประสมประสานเครื่องดนตรีไทยหรือเครื่องดนตรีพื้นบ้านประยุกต์เล่นร่วมกับเครื่องดนตรีสากล บรรเลงบทเพลงประเภทเพลงไทยเดิมหรือเพลงไทยสากล โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400057 |
ดนตรีไทยร่วมสมัยประสมประสานเครื่องดนตรีไทยหรือเครื่องดนตรีพื้นบ้านประยุกต์เล่นร่วมกับเครื่องดนตรีสากล บรรเลงบทเพลงประเภทเพลงไทยเดิมหรือเพลงไทยสากล โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400057 |
ดนตรีไทยร่วมสมัยประสมประสานเครื่องดนตรีไทยหรือเครื่องดนตรีพื้นบ้านประยุกต์เล่นร่วมกับเครื่องดนตรีสากล บรรเลงบทเพลงประเภทเพลงไทยเดิมหรือเพลงไทยสากล โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400058 |
การปฏิบัติเครื่องสีไทย 1ประวัติและที่มาของบทเพลง ปฏิบัติเครื่องสีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย ทำนองหลัก หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400059 |
การปฏิบัติเครื่องสีไทย 2ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องสีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องสีไทย 1 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400060 |
การปฏิบัติเครื่องสีไทย 3ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องสีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องสีไทย 2 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400061 |
การปฏิบัติเครื่องสีไทย 4ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องสีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องสีไทย 3 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400062 |
การปฏิบัติเครื่องสีไทย 5ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องสีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูง |
3 (1-3-5) |
6400063 |
การปฏิบัติเครื่องสีไทย 6ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องสีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องสีไทย 5 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400064 |
การปฏิบัติเครื่องตีไทย 1ประวัติและที่มาของบทเพลง ปฏิบัติเครื่องตีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย ทำนองหลัก หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400065 |
การปฏิบัติเครื่องตีไทย 2ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องตีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่า |
3 (1-3-5) |
6400066 |
การปฏิบัติเครื่องตีไทย 3ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องตีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องตีไทย 2 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสมคำอธิบาย |
3 (1-3-5) |
6400067 |
การปฏิบัติเครื่องตีไทย 4ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องตีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องตีไทย 3 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400068 |
การปฏิบัติเครื่องตีไทย 5ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องตีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องตีไทย 4 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400069 |
การปฏิบัติเครื่องตีไทย 6ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องตีไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องตีไทย 5 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400070 |
การปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 2ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องเป่าไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 1 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400071 |
การปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 3ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องเป่าไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 2 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400072 |
การปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 4ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องเป่าไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 2 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400073 |
การปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 5ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องเป่าไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 4 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400074 |
การปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 6ประวัติของบทเพลง ทำนองหลัก ปฏิบัติเครื่องเป่าไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐาน วิชาชีพดนตรีไทย หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 5 โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400075 |
การปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 1 |
3 (1-3-5) |
6400076 |
การปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 2ประวัติความเป็นมา หลักการปฏิบัติ ประเภทของการขับร้องเพลงไทย ศัพท์ทางดนตรีที่เกี่ยวข้องกับการขับร้อง การเอื้อน การออกเสียงให้ถูกอักขรวิธี การแบ่งวรรคตอนตามฉันทลักษณ์ ลักษณะการขับร้องประเภทต่าง ๆ มารยาทในการขับร้อง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติ ขับร้องเพลงไทย 1 โดยผู้สอนพิจารณาตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400077 |
การปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 3ประวัติความเป็นมา หลักการปฏิบัติ ประเภทของการขับร้องเพลงไทย ศัพท์ทางดนตรีที่ เกี่ยวข้องกับการขับร้อง การเอื้อน การออกเสียงให้ถูกอักขรวิธี การแบ่งวรรคตอนตามฉันทลักษณ์ลักษณะการขับร้องประเภทต่าง ๆ มารยาทในการขับร้อง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 2 |
3 (1-3-5) |
6400078 |
การปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 4ประวัติความเป็นมา หลักการปฏิบัติ ประเภทของการขับร้องเพลงไทย ศัพท์ทางดนตรีที่เกี่ยวข้องกับการขับร้อง การเอื้อน การออกเสียงให้ถูกอักขรวิธี การแบ่งวรรคตอนตามฉันทลักษณ์ ลักษณะการขับร้องประเภทต่าง ๆ มารยาทในการขับร้อง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 3 โดยผู้สอนพิจารณาตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400079 |
การปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 5ประวัติความเป็นมา หลักการปฏิบัติ ประเภทของการขับร้องเพลงไทย ศัพท์ทางดนตรีที่เกี่ยวข้องกับการขับร้อง การเอื้อน การออกเสียงให้ถูกอักขรวิธี การแบ่งวรรคตอนตามฉันทลักษณ์ ลักษณะการขับร้องประเภทต่าง ๆ มารยาทในการขับร้อง ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 4 โดยผู้สอนพิจารณาตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400080 |
การปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 6ฝึกปฏิบัติการขับร้องในกลุ่มเพลงตามมาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย ประวัติและบทร้อง กลวิธีในการขับร้อง แบบแผนการขับร้อง ทำนองหลัก รูปแบบทำนอง การแปรทำนอง สำนวนกลอน ปฏิบัติเพลงที่มีระดับสูงกว่าวิชาการปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 5 พิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสมของผู้สอน |
3 (1-3-5) |
6400081 |
การปฏิบัติเครื่องลมไม้ 1ประวัติความเป็นมาของเครื่องดนตรีในตระกูลเครื่องลมไม้ เรียนรู้ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สำเนียง (ความเพี้ยนสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ ฝึกปฏิบัติบันไดเสียงและอาร์เพจจิโอ (arpeggios) ชนิดต่าง ๆ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี การแสดง |
3 (1-3-5) |
6400082 |
การปฏิบัติเครื่องลมไม้ 2ฝึกปฏิบัติเครื่องลมไม้ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 1 |
3 (1-3-5) |
6400083 |
การปฏิบัติเครื่องลมไม้ 3ฝึกปฏิบัติเครื่องลมไม้ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 2 |
3 (1-3-5) |
6400084 |
การปฏิบัติเครื่องลมไม้ 4ฝึกปฏิบัติเครื่องลมไม้ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 3 |
3 (1-3-5) |
6400085 |
การปฏิบัติเครื่องลมไม้ 5ฝึกปฏิบัติเครื่องลมไม้ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 4 |
3 (1-3-5) |
6400086 |
การปฏิบัติเครื่องลมไม้ 6ฝึกปฏิบัติเครื่องลมไม้ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 5 |
3 (1-3-5) |
6400087 |
การขับร้องเดี่ยวและขับร้องประสานเสียงหลักการร้องเพลง การอ่านออกเสียงโน้ตและพัฒนาโสตประสาท บทเพลงประเภทร้องเดี่ยว และร้องประสานเสียงตั้งแต่ 2 แนวถึง 4 แนว ทั้งเพลงไทยและเพลงสากล การควบคุมระดับเสียงและความสมดุลของเสียงในแนวของตนให้กลมกลืนกับแนวอื่น ๆ ตลอดจนการสร้างแนวประสานในเพลงต่าง ๆ อย่างอิสระ |
3 (1-3-5) |
6400087 |
การขับร้องเดี่ยวและขับร้องประสานเสียงหลักการร้องเพลง การอ่านออกเสียงโน้ตและพัฒนาโสตประสาท บทเพลงประเภทร้องเดี่ยว และร้องประสานเสียงตั้งแต่ 2 แนวถึง 4 แนว ทั้งเพลงไทยและเพลงสากล การควบคุมระดับเสียงและความสมดุลของเสียงในแนวของตนให้กลมกลืนกับแนวอื่น ๆ ตลอดจนการสร้างแนวประสานในเพลงต่าง ๆ อย่างอิสระ |
3 (1-3-5) |
6400087 |
การขับร้องเดี่ยวและขับร้องประสานเสียงหลักการร้องเพลง การอ่านออกเสียงโน้ตและพัฒนาโสตประสาท บทเพลงประเภทร้องเดี่ยว และร้องประสานเสียงตั้งแต่ 2 แนวถึง 4 แนว ทั้งเพลงไทยและเพลงสากล การควบคุมระดับเสียงและความสมดุลของเสียงในแนวของตนให้กลมกลืนกับแนวอื่น ๆ ตลอดจนการสร้างแนวประสานในเพลงต่าง ๆ อย่างอิสระ |
3 (1-3-5) |
6400087 |
การขับร้องเดี่ยวและขับร้องประสานเสียงหลักการร้องเพลง การอ่านออกเสียงโน้ตและพัฒนาโสตประสาท บทเพลงประเภทร้องเดี่ยว และร้องประสานเสียงตั้งแต่ 2 แนวถึง 4 แนว ทั้งเพลงไทยและเพลงสากล การควบคุมระดับเสียงและความสมดุลของเสียงในแนวของตนให้กลมกลืนกับแนวอื่น ๆ ตลอดจนการสร้างแนวประสานในเพลงต่าง ๆ อย่างอิสระ |
3 (1-3-5) |
6400087 |
การขับร้องเดี่ยวและขับร้องประสานเสียงหลักการร้องเพลง การอ่านออกเสียงโน้ตและพัฒนาโสตประสาท บทเพลงประเภทร้องเดี่ยว และร้องประสานเสียงตั้งแต่ 2 แนวถึง 4 แนว ทั้งเพลงไทยและเพลงสากล การควบคุมระดับเสียงและความสมดุลของเสียงในแนวของตนให้กลมกลืนกับแนวอื่น ๆ ตลอดจนการสร้างแนวประสานในเพลงต่าง ๆ อย่างอิสระ |
3 (1-3-5) |
6400087 |
การขับร้องเดี่ยวและขับร้องประสานเสียงหลักการร้องเพลง การอ่านออกเสียงโน้ตและพัฒนาโสตประสาท บทเพลงประเภทร้องเดี่ยว และร้องประสานเสียงตั้งแต่ 2 แนวถึง 4 แนว ทั้งเพลงไทยและเพลงสากล การควบคุมระดับเสียงและความสมดุลของเสียงในแนวของตนให้กลมกลืนกับแนวอื่น ๆ ตลอดจนการสร้างแนวประสานในเพลงต่าง ๆ อย่างอิสระ |
3 (1-3-5) |
6400087 |
การขับร้องเดี่ยวและขับร้องประสานเสียงหลักการร้องเพลง การอ่านออกเสียงโน้ตและพัฒนาโสตประสาท บทเพลงประเภทร้องเดี่ยว และร้องประสานเสียงตั้งแต่ 2 แนวถึง 4 แนว ทั้งเพลงไทยและเพลงสากล การควบคุมระดับเสียงและความสมดุลของเสียงในแนวของตนให้กลมกลืนกับแนวอื่น ๆ ตลอดจนการสร้างแนวประสานในเพลงต่าง ๆ อย่างอิสระ |
3 (1-3-5) |
6400087 |
การขับร้องเดี่ยวและขับร้องประสานเสียงหลักการร้องเพลง การอ่านออกเสียงโน้ตและพัฒนาโสตประสาท บทเพลงประเภทร้องเดี่ยว และร้องประสานเสียงตั้งแต่ 2 แนวถึง 4 แนว ทั้งเพลงไทยและเพลงสากล การควบคุมระดับเสียงและความสมดุลของเสียงในแนวของตนให้กลมกลืนกับแนวอื่น ๆ ตลอดจนการสร้างแนวประสานในเพลงต่าง ๆ อย่างอิสระ |
3 (1-3-5) |
6400087 |
การขับร้องเดี่ยวและขับร้องประสานเสียงหลักการร้องเพลง การอ่านออกเสียงโน้ตและพัฒนาโสตประสาท บทเพลงประเภทร้องเดี่ยว และร้องประสานเสียงตั้งแต่ 2 แนวถึง 4 แนว ทั้งเพลงไทยและเพลงสากล การควบคุมระดับเสียงและความสมดุลของเสียงในแนวของตนให้กลมกลืนกับแนวอื่น ๆ ตลอดจนการสร้างแนวประสานในเพลงต่าง ๆ อย่างอิสระ |
3 (1-3-5) |
6400088 |
การแสดงบนเวทีสำหรับนักดนตรีฝึกทักษะการแสดงบนเวทีที่จำเป็นสาหรับนักดนตรี พื้นฐานการแสดง การสื่อสาร การตีความ การเตรียมความพร้อม การฝึกซ้อม และการจัดแสงสีเสียงในการแสดงดนตรี |
3 (1-3-5) |
6400088 |
การแสดงบนเวทีสำหรับนักดนตรีฝึกทักษะการแสดงบนเวทีที่จำเป็นสาหรับนักดนตรี พื้นฐานการแสดง การสื่อสาร การตีความ การเตรียมความพร้อม การฝึกซ้อม และการจัดแสงสีเสียงในการแสดงดนตรี |
3 (1-3-5) |
6400088 |
การแสดงบนเวทีสำหรับนักดนตรีฝึกทักษะการแสดงบนเวทีที่จำเป็นสาหรับนักดนตรี พื้นฐานการแสดง การสื่อสาร การตีความ การเตรียมความพร้อม การฝึกซ้อม และการจัดแสงสีเสียงในการแสดงดนตรี |
3 (1-3-5) |
6400088 |
การแสดงบนเวทีสำหรับนักดนตรีฝึกทักษะการแสดงบนเวทีที่จำเป็นสาหรับนักดนตรี พื้นฐานการแสดง การสื่อสาร การตีความ การเตรียมความพร้อม การฝึกซ้อม และการจัดแสงสีเสียงในการแสดงดนตรี |
3 (1-3-5) |
6400088 |
การแสดงบนเวทีสำหรับนักดนตรีฝึกทักษะการแสดงบนเวทีที่จำเป็นสาหรับนักดนตรี พื้นฐานการแสดง การสื่อสาร การตีความ การเตรียมความพร้อม การฝึกซ้อม และการจัดแสงสีเสียงในการแสดงดนตรี |
3 (1-3-5) |
6400088 |
การแสดงบนเวทีสำหรับนักดนตรีฝึกทักษะการแสดงบนเวทีที่จำเป็นสาหรับนักดนตรี พื้นฐานการแสดง การสื่อสาร การตีความ การเตรียมความพร้อม การฝึกซ้อม และการจัดแสงสีเสียงในการแสดงดนตรี |
3 (1-3-5) |
6400088 |
การแสดงบนเวทีสำหรับนักดนตรีฝึกทักษะการแสดงบนเวทีที่จำเป็นสาหรับนักดนตรี พื้นฐานการแสดง การสื่อสาร การตีความ การเตรียมความพร้อม การฝึกซ้อม และการจัดแสงสีเสียงในการแสดงดนตรี |
3 (1-3-5) |
6400088 |
การแสดงบนเวทีสำหรับนักดนตรีฝึกทักษะการแสดงบนเวทีที่จำเป็นสาหรับนักดนตรี พื้นฐานการแสดง การสื่อสาร การตีความ การเตรียมความพร้อม การฝึกซ้อม และการจัดแสงสีเสียงในการแสดงดนตรี |
3 (1-3-5) |
6400088 |
การแสดงบนเวทีสำหรับนักดนตรีฝึกทักษะการแสดงบนเวทีที่จำเป็นสาหรับนักดนตรี พื้นฐานการแสดง การสื่อสาร การตีความ การเตรียมความพร้อม การฝึกซ้อม และการจัดแสงสีเสียงในการแสดงดนตรี |
3 (1-3-5) |
6400089 |
การปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 1ประวัติความเป็นมาของเครื่องดนตรีในตระกูลเครื่องทองเหลือง เรียนรู้ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สำเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเป่า (เทคนิค) การถ่ายทอดอารมณ์ ฝึกปฏิบัติบันไดเสียงและอาร์เพจจิโอ (arpeggios) ชนิดต่างๆ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี การแสดง |
3 (1-3-5) |
6400090 |
การปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 2ฝึกปฏิบัติเครื่องทองเหลือง มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 1 |
3 (1-3-5) |
6400091 |
การปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 3ฝึกปฏิบัติเครื่องทองเหลือง มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 2 |
3 (1-3-5) |
6400092 |
การปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 4ฝึกปฏิบัติเครื่องทองเหลือง มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 3 |
3 (1-3-5) |
6400093 |
การปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 5ฝึกปฏิบัติเครื่องทองเหลือง มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 4 |
3 (1-3-5) |
6400094 |
การปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 6ฝึกปฏิบัติเครื่องทองเหลือง มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 5 |
3 (1-3-5) |
6400095 |
การปฏิบัติเครื่องสายสากล 1ประวัติความเป็นมาของเครื่องดนตรีในตระกูลเครื่องสายสากล เรียนรู้ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียง สำเนียง ความเพี้ยนเสียงสูง-ต่ำ การใช้คันชัก และการวางนิ้ว เทคนิคการบรรเลง การวิเคราะห์บทเพลง การถ่ายทอดอารมณ์ฝึกปฏิบัติบันไดเสียงและอาร์เพจจิโอ (arpeggios) ชนิดต่าง ๆ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี การแสดง |
3 (1-3-5) |
6400096 |
การปฏิบัติเครื่องสายสากล 2ฝึกปฏิบัติเครื่องสายสากล มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 1 |
3 (1-3-5) |
6400097 |
การปฏิบัติเครื่องสายสากล 3ฝึกปฏิบัติเครื่องสายสากล มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 2 |
3 (1-3-5) |
6400098 |
การปฏิบัติเครื่องสายสากล 4ฝึกปฏิบัติเครื่องสายสากล มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 3 |
3 (1-3-5) |
6400099 |
การปฏิบัติเครื่องสายสากล 5ฝึกปฏิบัติเครื่องสายสากล มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 4 |
3 (1-3-5) |
6400100 |
การปฏิบัติเครื่องสายสากล 6ฝึกปฏิบัติเครื่องสายสากล มุ่งพัฒนาทักษะ ความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 5 |
3 (1-3-5) |
6400101 |
การปฏิบัติกีตาร์ 1ประวัติความเป็นมาของเครื่องดนตรี การเรียนปฏิบัติกีตาร์ เรียนรู้ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การขึ้นสาย การตั้งเสียง สำเนียง การวางนิ้ว เทคนิคการบรรเลง การถ่ายทอดอารมณ์ ฝึกปฏิบัติบันไดเสียงและอาร์เพจจิโอ (arpeggios) ชนิดต่างๆ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี การแสดง |
3 (1-3-5) |
6400102 |
การปฏิบัติกีตาร์ 2ฝึกปฏิบัติกีตาร์ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 1 |
3 (1-3-5) |
6400103 |
การปฏิบัติกีตาร์ 3ฝึกปฏิบัติกีตาร์ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 2 |
3 (1-3-5) |
6400104 |
การปฏิบัติกีตาร์ 4ฝึกปฏิบัติกีตาร์ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 3 |
3 (1-3-5) |
6400105 |
การปฏิบัติกีตาร์ 5ฝึกปฏิบัติกีตาร์ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 4 |
3 (1-3-5) |
6400106 |
การปฏิบัติกีตาร์ 6ฝึกปฏิบัติกีตาร์ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 5 |
3 (1-3-5) |
6400107 |
การปฏิบัติเปียโน 1ประวัติความเป็นมาของเครื่องดนตรี การเรียนปฏิบัติเปียโน เรียนรู้ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การวางนิ้ว เทคนิคการบรรเลง การถ่ายทอด อารมณ์ ฝึกปฏิบัติบันไดเสียงและอาร์เพจจิโอ (arpeggios) ชนิดต่างๆ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี การแสดง |
3 (1-3-5) |
6400108 |
การปฏิบัติเปียโน 2ฝึกปฏิบัติเปียโน มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 1 |
3 (1-3-5) |
6400109 |
การปฏิบัติเปียโน 3ฝึกปฏิบัติเปียโน มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 2 |
3 (1-3-5) |
6400110 |
การปฏิบัติเปียโน 4ฝึกปฏิบัติเปียโน มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 3 |
3 (1-3-5) |
6400111 |
การปฏิบัติเปียโน 5ฝึกปฏิบัติเปียโน มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 4 |
3 (1-3-5) |
6400112 |
การปฏิบัติเปียโน 6ฝึกปฏิบัติเปียโน มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 5 |
3 (1-3-5) |
6400113 |
การปฏิบัติเครื่องกระทบ 1ประวัติความเป็นมาของเครื่องดนตรีในตระกูลเครื่องกระทบ เรียนรู้ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การตั้งเสียง สำเนียง เทคนิคการบรรเลง การวิเคราะห์บทเพลง การถ่ายทอดอารมณ์ฝึกปฏิบัติลีลาจังหวะชนิดต่าง ๆ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี การแสดง |
3 (1-3-5) |
6400114 |
การปฏิบัติเครื่องกระทบ 2ฝึกปฏิบัติเครื่องกระทบ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้สูงกว่าระดับที่ 1 |
3 (1-3-5) |
6400115 |
การปฏิบัติเครื่องกระทบ 3ฝึกปฏิบัติเครื่องกระทบ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้สูงกว่าระดับที่ 2 |
3 (1-3-5) |
6400116 |
การปฏิบัติเครื่องกระทบ 4ฝึกปฏิบัติเครื่องกระทบ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้สูงกว่าระดับที่ 3 |
3 (1-3-5) |
6400117 |
การปฏิบัติเครื่องกระทบ 5ฝึกปฏิบัติเครื่องกระทบ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้สูงกว่าระดับที่ 4 |
3 (1-3-5) |
6400118 |
การปฏิบัติเครื่องกระทบ 6ฝึกปฏิบัติเครื่องกระทบ มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรีให้สูงกว่าระดับที่ 5 |
3 (1-3-5) |
6400119 |
การปฏิบัติเบสไฟฟ้า 1ประวัติความเป็นมาของเครื่องดนตรีในตระกูลเบสไฟฟ้า เรียนรู้ส่วนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ท่าทาง การดูแลรักษา การตั้งเสียง สำเนียง เทคนิคการบรรเลง การวิเคราะห์บทเพลง การถ่ายทอดอารมณ์ฝึกปฏิบัติลีลาจังหวะชนิดต่าง ๆ บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี การแสดง |
3 (1-3-5) |
6400120 |
การปฏิบัติเบสไฟฟ้า 2ฝึกปฏิบัติเบสไฟฟ้า มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 1 |
3 (1-3-5) |
6400121 |
การปฏิบัติเบสไฟฟ้า 3ฝึกปฏิบัติเบสไฟฟ้า มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 2 |
3 (1-3-5) |
6400122 |
การปฏิบัติเบสไฟฟ้า 4ฝึกปฏิบัติเบสไฟฟ้า มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 3 |
3 (1-3-5) |
6400123 |
การปฏิบัติเบสไฟฟ้า 5ฝึกปฏิบัติเบสไฟฟ้า มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 4 |
3 (1-3-5) |
6400124 |
การปฏิบัติเบสไฟฟ้า 6ฝึกปฏิบัติเบสไฟฟ้า มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติเครื่องดนตรี และเรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าในระดับที่ 5 |
3 (1-3-5) |
6400125 |
การปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้า 1ฝึกปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้าขั้นพื้นฐานโดยคำนึงคุณภาพของเสียง และสำเนียง บันไดเสียง แบบฝึกหัดเบื้องต้น บทฝึกและวรรณกรรมดนตรีต่าง ๆ และฝึกเล่นเพลงที่อยู่ในความนิยม หรือเพลงที่เหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400126 |
การปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้า 2ฝึกปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้าให้มีทักษะสูงขึ้นตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงคุณภาพของเสียง สำเนียง เทคนิคการปฏิบัติ การถ่ายทอดอารมณ์ บันไดเสียง บทฝึก และวรรณกรรมดนตรีต่าง ๆ ที่ต้องใช้เทคนิคขั้นสูงกว่าระดับที่ 1 และฝึกเล่นเพลงที่อยู่ในความนิยม หรือเพลงที่เหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400127 |
การปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้า 3ฝึกปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้าให้มีทักษะสูงขึ้นตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงคุณภาพของเสียง สำเนียง เทคนิคการปฏิบัติ การถ่ายทอดอารมณ์ บันไดเสียง บทฝึก และวรรณกรรมดนตรีต่าง ๆ ที่ต้องใช้เทคนิคขั้นสูงกว่าระดับที่ 2 และฝึกเล่นเพลงที่อยู่ในความนิยม หรือเพลงที่เหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400128 |
การปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้า 4ฝึกปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้าให้มีทักษะสูงขึ้นตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงคุณภาพของเสียง สำเนียง เทคนิคการปฏิบัติ การถ่ายทอดอารมณ์ บันไดเสียง บทฝึก และวรรณกรรมดนตรีต่าง ๆ ที่ต้องใช้เทคนิคขั้นสูงกว่าระดับที่ 3 และฝึกเล่นเพลงที่อยู่ในความนิยม หรือเพลงที่เหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400129 |
การปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้า 5ฝึกปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้าให้มีทักษะสูงขึ้นตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงคุณภาพของเสียง สำเนียง เทคนิคการปฏิบัติ การถ่ายทอดอารมณ์ บันไดเสียง บทฝึก และวรรณกรรมดนตรีต่าง ๆ ที่ต้องใช้เทคนิคขั้นสูงกว่าระดับที่ 4 และฝึกเล่นเพลงที่อยู่ในความนิยม หรือเพลงที่เหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400130 |
การปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้า 6ฝึกปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้าให้มีทักษะสูงขึ้นตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน โดยคำนึงคุณภาพของเสียง สำเนียง เทคนิคการปฏิบัติ การถ่ายทอดอารมณ์ บันไดเสียง บทฝึก และวรรณกรรมดนตรีต่าง ๆ ที่ต้องใช้เทคนิคขั้นสูงกว่าระดับที่ 5 และฝึกเล่นเพลงที่อยู่ในความนิยม หรือเพลงที่เหมาะสม |
3 (1-3-5) |
6400131 |
การปฏิบัติขับร้องสากล 1หลักการร้องเพลง ประเภทของเพลงร้อง การเรียนปฏิบัติขับร้องสากล มุ่งพัฒนาขีดความสามารถของผู้เรียนให้เต็มขีดความสามารถ โดยคำนึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ ท่าทาง การหายใจ การออกเสียงภาษา การถ่ายทอดอารมณ์ เทคนิคการร้องเพลง บทฝึกและวรรณกรรมดนตรี การแสดง |
3 (1-3-5) |
6400132 |
การปฏิบัติขับร้องสากล 2ฝึกปฏิบัติขับร้องสากล มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติ เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 1 |
3 (1-3-5) |
6400133 |
การปฏิบัติขับร้องสากล 3ฝึกปฏิบัติขับร้องสากล มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติ เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 2 |
3 (1-3-5) |
6400134 |
การปฏิบัติขับร้องสากล 4ฝึกปฏิบัติขับร้องสากล มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติ เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 3 |
3 (1-3-5) |
6400135 |
การปฏิบัติขับร้องสากล 5ฝึกปฏิบัติขับร้องสากล มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติ เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 4 |
3 (1-3-5) |
6400136 |
การปฏิบัติขับร้องสากล 6ฝึกปฏิบัติขับร้องสากล มุ่งพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนในการปฏิบัติ เรียนรู้การเข้าถึงและวิเคราะห์บทเพลงที่บรรเลงให้สูงกว่าระดับที่ 5 |
3 (1-3-5) |
6400137 |
ศิลปะการแสดงไทย 1ความหมาย ประวัติความเป็นมาของรำพื้นฐาน และฝึกปฏิบัติรำพื้นฐานเพลงช้า เพลงเร็ว นาฏยศัพท์ ภาษานาฏศิลป์ และการนำไปใช้ การกำหนดเรียกชื่อนาฏยศัพท์ ตลอดจนการแบ่งประเภทนาฏยศัพท์ที่ใช้ในการเรียนการสอนและการแสดง รวมทั้งวิเคราะห์การใช้นาฏยศัพท์และภาษานาฏศิลป์ในกระบวนท่ารำ |
3 (1-3-5) |
6400138 |
ศิลปะการแสดงไทย 2ความหมายประวัติความเป็นมาของรำ ระบำมาตรฐาน และฝึกปฏิบัติรำ ระบำมาตรฐาน |
3 (1-3-5) |
6400139 |
ศิลปะการแสดงไทย 3ประวัติความเป็นมา องค์ประกอบ กระบวนท่ารำ โอกาสที่ใช้และฝึกปฏิบัติท่ารำเพลงหน้าพาทย์ เพลงเชิด - เสมอ เพลงชุบ-ลา เพลงสาธุการ เพลงตระนิมิต เพลงชำนาญ เพลงตระบองกัน เพลงบาทสกุณี |
3 (1-3-5) |
6400140 |
ศิลปะการแสดงสากล 1การแสดงเบื้องต้น การเคลื่อนไหว ภาษากาย การเปล่งเสียงการแสดงสด การตีความ การแสดงเดี่ยว การแสดงเป็นคู่ การแสดงฉากสั้น ๆ |
3 (1-3-5) |
6400141 |
ศิลปะการแสดงสากล 2รูปแบบ เนื้อหา และหน้าที่ ของการแสดงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พม่าไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไนดารุส- ซาราม ฟิลิปปินส์ ฝึกปฏิบัติการแสดงอาเซียน |
3 (1-3-5) |
6400142 |
ศิลปะการแสดงสากล 3ความรู้พื้นฐาน ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ตะวันออก ตะวันตก และนาฏศิลป์อาเซียน วิเคราะห์ เปรียบเทียบองค์ประกอบของการแสดง หน้าที่ การปฏิสัมพันธ์ รูปแบบการแสดง ฝึกปฏิบัติให้สอดคล้องตามความเหมาะสมรวมทั้งและออกแบบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียน |
3 (1-3-5) |
6400143 |
เพลงและการขับร้องเพื่อศิลปะการแสดงความสำคัญ วิเคราะห์หลักการเลือกสรรบทเพลงที่ใช้ในการแสดง ศึกษาองค์ประกอบของเพลง วิธีการขับร้องเพลงไทย ฝึกขับร้องเพลงไทยที่ใช้ประกอบแสดงของไทย ในลักษณะต่างๆ |
3 (1-3-5) |
6400144 |
การศึกษาจากห้องปฏิบัติการด้านดนตรีและศิลปะการแสดงความเปลี่ยนแปลงและความเคลื่อนไหวของโลกทางสังคม มนุษย์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และการเมืองผ่านดนตรีและศิลปะการแสดง |
3 (1-3-5) |
6400150 |
การปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 1ประวัติของบทเพลง ปฏิบัติเครื่องเป่าไทยในกลุ่มเพลงตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพดนตรีไทย ทำนองหลัก หลักการแปรทำนอง กลวิธีในการบรรเลง รวมถึงการบันทึกโน้ตเพลง โดยผู้สอนพิจารณาบทเพลงตามความเหมาะสม |
3 (1-3-5) |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
---|---|---|
6400145 |
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาการดนตรีและศิลปะการแสดงกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เรียนก่อนออกฝึกประสบการณ์ด้านวิชาชีพวิทยาการดนตรีและศิลปะการแสดง ในด้านการรับรู้ ลักษณะและโอกาสของการประกอบอาชีพ การพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพ โดยกระทำในสถานการณ์หรือรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานในวิชาชีพนั้น ๆ |
1 (0-2-1) |
6400146 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาการดนตรีและศิลปะการแสดง |
5 (300) |
6400147 |
การเตรียมสหกิจศึกษาด้านวิทยาการดนตรีและศิลปะการแสดงกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมของนักศึกษาก่อนออกฝึกปฏิบัติงานจริงเพื่อเพิ่มประสบการณ์ด้านดนตรีและศิลปะการแสดงในฐานะบุคลากรของสถานประกอบการนั้น ๆ |
0 (30) |
6400148 |
สหกิจศึกษาด้านวิทยาการดนตรีและศิลปะการแสดงการฝึกงานวิชาชีพของนักศึกษาโครงการสหกิจศึกษาด้านดนตรี เป็นการศึกษาที่เน้นการปฏิบัติงาน เชิงวิชาการหรือวิชาชีพเต็มเวลาในสถานประกอบการอย่างเป็นระบบ นักศึกษาโครงการสหกิจศึกษาด้านวิทยาการดนตรีและศิลปะการแสดงเสมือนเป็นบุคลากรของสถานประกอบการนั้น ๆ ซึ่งมีระยะเวลาและมาตรฐานการฝึกงานตามข้อตกลงความร่วมมือของของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์และสถานประกอบการ |
6 (16 สัปดาห์) |